th en

เอกสารประกอบการประชุม

THAILAND QUALITY CONFERENCE & The 22nd Symposium on TQM Best-Practices in Thailand

no. รหัสผลงาน ชื่อองค์กร ชื่อบทความที่นำเสนอ Download
บรรยายพิเศษ
 1  

คุณเจริญ แก้วสุกใส

รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส 

บริษัท ซีพีแรม จำกัด

 Quality excellence throughout supplychain
2   คุณสุปราณี ชนะชัย

ผู้จัดการทั่วไป ส่วนประกันคุณภาพระบบมาตรฐาน บริษัท ซีพีแรม จำกัด

Cpram New Normal ระบบการบริหาร Performance ทั่วทั้งองค์กร
3  

คุณสุพจน์ สุวรรณพิมลกุล

ประธานกรรมการ บริษัท เอส เค โพลีเมอร์ จำกัด

กลยุทธ์เปลี่ยนวิกฤติ COVID-19 เป็นการเพิ่มกำไรของบริษัท
 4   คุณพัฒนชัย กุลสิริสวัสดิ์

กรรมการผู้จัดการใหญ่

กลุ่มบริษัท ชัยบูรณ์ บราเดอร์ส

 พลิกวิกฤติเป็นโอกาส ด้วย TQM
Best Prectices
1 BP-01 แอปพลิเคชัน "รู้ทัน : Rootan" แจ้งไว เตือนภัยไซเบอร์

กองคดีเทคโนโลยีและสารสนเทศ กรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม

2 BP-02

เรื่องของเลือด ขาดเหลือ เกื้อกูลกัน

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
 3 BP-03 อุปกรณ์กดห้ามเลือด

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

4 BP-04 จากหนึ่ง กลายเป็น สอง กับการเพิ่มประสิทธิภาพหม้อกดนมผสมและน้ำสเตอริไรส์สำหรับผู้ป่วยเด็ก คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
5 BP-05 การบริหารจัดการห้องปฏิบัติการเพื่อการเรียนการสอนของสาขาวิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
6 BP-06 การพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ สำนักงานบริหารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ "HUSO 5 Smarts" สำนักงานบริหารคณะ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
7 BP-07 ระบบสารสนเทศช่วยเหลือการบริหารและจัดการองค์กร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
8 BP-08 เตรียมความพร้อมการสอนออนไลน์ในยุควิถีชีวิตใหม่ (Preparation Online Teaching for The New Normal) งานบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
9 BP-09 Smart System สำหรับวางแผนและตรวจสอบการเรียนของนักศึกษายุค 4.0 งานสนับสนุนการจัดการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
10 BP-10 แอลกอฮอลล์ฆ่าเชื้อโรคบนผิวมือสูตรคณะวทท. ม.อ. สู่ชุมชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
11 BP-11 จัดสอบแบบ 5G สำหรับ Smart Scientist งานสนับสนุนการจัดการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
12 BP-12 ระบบช่วยเหลือและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างยั่งยืน กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
13 BP-13 การยื่นขอรับการประเมินฯ PSU-TPSF แบบออนไลน์ สำนักการศึกษาและนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
14 BP-14 ระบบบริหารจัดการความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการสำนักเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการทดสอบ สำนักเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการทดสอบ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
15 BP-15 โครงการโมเดลอาจารย์ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
16 BP-17 การประยุกต์มาตรฐานเพื่อการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ด้านการจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืน (ตัวอย่างการบำบัดน้ำเสียในอาคาร) ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
17 BP-18 ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System): กลไกสำคัญที่ต่อยอดสู่การพัฒนาบุคลากรของธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
18 BP-19 Excellence Service of cashier IPD's position งานเงินรายได้ ฝ่ายการคลัง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
19 BP-20 โครงการ "Go Future for Health Insurance by "Si I-Claim" ฝ่ายการคลัง สำนักงานคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
20 BP-21 การพัฒนากระบวนการบันทึกบัญชีรับทรัพย์สินบริจาคแบบอิเลคโทรนิกส์ งานบัญชี ฝ่ายการคลัง/ งานบริหารพัสดุ ฝ่ายทรัพย์สินและพัสดุ สำนักงานคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
21 BP-22 การบริการรับเงินทันสมัย ถูกต้อง ว่องไว ไร้ข้อร้องเรียน ฝ่ายการคลัง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
22  BP-23 Beyond to e-Locker for Cashiers : ตู้เงินทอนอิเล็กทรอนิกส์สำหรับเจ้าหน้าที่การเงินส่วนหน้า งานการเงิน ฝ่ายการคลัง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
23 BP-24 Siriraj Finance Management of Covid-19 Situation ฝ่ายการคลัง สำนักงานคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
24 BP-25 Logistic ง่ายๆ เก็บเอกสารสบายๆ อย่างมีประสิทธิภาพ งานการเงิน ฝ่ายการคลัง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
 25 BP-26 บัญชียุคใหม่บันทึกฉับไวไร้ข้อผิดพลาด งานบัญชี ฝ่ายการคลัง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
 26 BP-27 Web Application รู้ใจคนใช้งบฯ ฝ่ายการคลัง สำนักงานคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
 27 BP-28 การวางแผนกลยุทธ์ สวทช. เพื่อเตรียมรับมือการเปลี่ยนแปลงแบบฉับพลัน (Disruption) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
 28 BP-29 ชีวิตดี๊ดี by PP Dashboard ฝ่ายนโยบายและแผน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
29 BP-30 พลิกวิกฤติเป็นโอกาสด้วยระบบงาน TS-ECM (Transmission System-Enterprise Content Management) ในการจัดทำแผนงานและบริหารโครงการพัฒนาระบบส่ง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)
30 BP-31 การพัฒนากระบวนการติดตามพอร์ตลงทุน วิเคราะห์และรายงานผลลงทุนเชิงลึก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ฝ่ายการคลัง สำนักงานคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
31 BP-32 การลงทุนกองทุนต่างประเทศโดยตรง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ฝ่ายการคลัง สำนักงานคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
32 BP-33 กระบวนการพัฒนาคุณภาพองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ศูนย์พัฒนาคุณภาพองค์กร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
33 BP-34 ร่วมพัฒนา ร่วมใช้ ฐานข้อมูลเฝ้าระวังโรคและภัย ราชทัณฑ์หนึ่งเดียว สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น
34 BP-35 พลังชุมชนเข้มแข็งเพื่อการป้องกันการเกิดอาชญากรรมคดีพิเศษในระดับพื้นที่ : กรณีศูนย์รับข้อมูลข่าวสารและเผยแพร่เครือข่ายอาชญากรรมคดีพิเศษ (DSI Station) กรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม
35 BP-36 โครงการ "สื่อสารฉับไว ไร้กระดาษ" ฝ่ายการคลัง สำนักงานคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
36 BP-37 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศและการเชื่อมต่อกับระบบ SAP ฝ่ายการคลัง สำนักงานคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล / งานคลัง ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก สำนักงานคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
37 BP-38 การพัฒนาแพลตฟอร์มระบบนิเวศน์ข้อมูลดิจิทัลแบบบูรณาการ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
38 BP-39 DDC COVID-19 เร็วคือรอด ประชาชนปลอดภัย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
39 BP-40 การปรับปรุงลดของเสีย Copper defect ของ Front end process บริษัท เม็กเท็ค แมนูแฟ็คเจอริ่ง คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จำกัด
40 BP-41 กระบวนการพัฒนาระบบการให้รหัสโรค ICD10, ICD9cm แบบ Paperless/EMR โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
41 BP-43 ออกแบบข้อเสนอขายบนจุดยืนที่จะช่วยให้ลูกค้ามีผลประกอบการที่ดีขึ้น บริษัท อินเตอร์ฟีดเทค (ประเทศไทย) จำกัด
42 BP-45 ลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิดไม่พบ ST Segment Elavation (NSTE-ACS) งานการพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด ศูนย์ความเป็นเลิศโรคหัวใจและหลอดเลือด (Center (Center of Excellence for Cardio Vascular Disease; TU-CCVD) โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
43 BP-46 การพัฒนาอาหารผู้ป่วยในโรงพยาบาลสู่มาตรฐานอาหารสากล (ISO 22000) งานโภชนาการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
44 BP-47 ลดอุบัติการณ์ความคาดเคลื่อนทางยาจากกระบวนการการทำ Med reconcile โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
45 BP-48 การนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยทารกแรกเกิดเพื่อการลดความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
46 BP-49 โครงการ Admit รูปแบบใหม่ รพธ 2020 โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
47 BP-50 Product Innovation เพื่อป้องกันการเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำสำหรับทารกแรกเกิด งานการพยาบาลผู้คลอด โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 48 BP-51 ลดภาวะแทรกซ้อนจากความเสียหายของเส้นฟอกเลือด (Vascular Access failure) งานการพยาบาลผู้ป่วยโรคไตและไตเทียม โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 49 BP-52 การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยนอก : LEAN Management OPD TUH โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 50 BP-53 Health examination one stop service หน่วยงานรักษ์สุขภาพ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 51 BP-54 การพัฒนาระบบ Platform การตรวจเช็คความพร้อมใช้งานเครื่องช่วยหายใจและเครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า  งานเครื่องมือแพทย์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 52 BP-55  การพัฒนาระบบเงินยืมทดรองราชการเชิงรุก  โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
 53 BP-56  ระบบการบริหารจัดการคุณภาพสินเชื่อ (Data Analytics for Aging Management (DAAM))  ธนาคารอาคารสงเคราะห์
 54  BP-57  พัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงทุจริตด้านสินเชื่อ (Housing Loan Fraud Risk & Warning Sign)  ธนาคารอาคารสงเคราะห์
55 BP-58 การนำ KM มาใช้ในการจัดการสถานการณ์ COVID-19 ธนาคารอาคารสงเคราะห์
56 BP-62 กระบวนการบูรณาการการมีส่วนร่วมเชื่อมโยงไร้รอยต่อของประชารัฐเพื่อความปลอดภัยทางถนนอย่างยั่งยืน สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น
57 BP-63 พัฒนาแม่แบบการจัดการฟาร์มสุกรให้มีความปลอดภัย มีประสิทธิภาพและคุณภาพสูง วิชาการ: iTAC (The International Technical and Academic Center)
58 BP-64 การออกแบบพัฒนาคอร์สพิเศษให้ตรงกับความถนัดในการเรียนรู้ของเด็กอนุบาลแต่ละคน โรงเรียนอนุบาลเด่นหล้า
59 BP-65 การพัฒนาคุณภาพของการสอนวิธีว่ายน้ำให้แก่เด็กเล็กด้วย QFD  และการตั้งมาตรฐาน โรงเรียนอนุบาลเด่นหล้า
60 BP-66 การเพิ่มขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีโครงสร้างน้ำหนักเบาเพื่อการผลิตยานพาหนะสมัยใหม่ของประเทศไทย บริษัท โชคนำชัย ไฮ-เทค เพรสซิ่ง จำกัด
61 BP-67 ระบบรายงานผลดัชนีชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (KPI Online) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
62 BP-68 การประมาณการกำลังผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ขนาดเล็กมาก (VSPP) แบบเรียลไทม์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)
63 BP-69 การบูรณาการด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดี การบริหารความเสี่ยง และการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง (Governance Risk and Compliance : GRC) ของ กทพ. การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
64 BP-70 การบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ สวทช. ตามมาตรฐาน ISO 27001 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
65 BP-71 Increase % Size M Floor Tiles 30x30 บริษัท เอสซีจี เซรามิกส์ จำกัด (มหาชน)
66 BP-72 พัฒนาระบบการติดตามหนี้ค้างชำระค่ารักษาพยาบาลในระบบ e-Phis งานรายได้ ฝ่ายบริหารแผนและการคลัง โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
Progressive Learners
 1  PL-01 คู่มือการทบทวนผลสัมฤทธิ์ เป้าหมายการให้บริการ ผลผลิต/โครงการ และตัวชี้วัดผลสำเร็จของหน่วยรับงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565  กองประเมินผล1  สำนักงบประมาณ
2 PL-02 ลดระยะเวลาในการกรอกแบบวิเคราะห์ความจำเป็นและความสามารถในการชำระหนี้ของผู้กู้ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
3 PL-03 การพัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลงานบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ศูนย์บริการวิชาการทางวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
4 PL-05 Good Practice for New Interface Program งานการคลัง ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
5 PL-07 ระบบการควบคุมคุณภาพและระบบการประกันคุณภาพการตรวจเงินแผ่นดินที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากล สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
6 PL-08 พัฒนาระบบจัดยาผู้ป่วยนอกด้วย LOCATION : Innovation in OPD PHARMACY with LEAN concept งานเภสัชกรรมผู้ป่วยนอก ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
7 PL-09 รับฟังด้วยหัวใจ ใส่ใจทุกปัญหา ด้วย Line Official Account : Khuikun (คุยกัน) โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
8 PL-10 แผนงานการจัดระบบรับฝากนอกที่ทำการ (ระบบ Pick Up Service) บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด
9 PL-11 การบริหารจัดการและการประกันคุณภาพการศึกษาของตนเองในสถานการณ์ COVID-19 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
10 PL-12 เพิ่มอัตราการเดินเครื่องและลดของเสียในการผลิต บริษัท ฝาจีบ จำกัด (มหาชน)
11 PL-13 การสร้างระบบคลังเวชภัณฑ์ผู้ป่วยเฉพาะราย (Consignment) ของรังสีวินิจฉัยและรังสีร่วมรักษา งานการพยาบาลรังสีวิทยา โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
12 PL-15 โครงการ Smart Service ระบบการบริหารจัดการลูกค้า ธนาคารอาคารสงเคราะห์
 13 PL-16 ศูนย์บริการคนพิการในโรงพยาบาล โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
14 PL-17 การให้บริการผู้ป่วยโรคตาในสถานการณ์วิกฤต COVID-19 โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
 15 PL-20 การจัดทำและจัดเก็บเอกสารหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่ายในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-WHT) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
 16 PL-21 Reduce Alumina Consumption บริษัท เอสซีจี เซรามิกส์ จำกัด (มหาชน)
 17 PL-22 Improve Calibro MC Accuracy to Reduce Size Diff บริษัท เอสซีจี เซรามิกส์ จำกัด (มหาชน)
18 PL-24 การพัฒนากระบวนการและผลลัพธ์การปฏิบัติงานด้วย Logic Model ฝ่ายทรัพยากรบุคคล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
 19 PL-25 การบริหารวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์นานาชาติแบบ CEO มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 20 PL-26 การบริหารต้นทุนโดยใช้หลักการ TQM ผลิตอาหารสุกรสำเร็จรูป ตามสูตรจำแนกรุ่น กรณีศึกษา : บริษัท สมคิดเกษตรฟาร์ม จำกัด ตำบลป่าเซ่า อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สาขาวิชาการบัญชี หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุตรดิตถ์ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3
21  PL-27 ระบบขอความช่วยเหลือบนทางพิเศษ (SOS) ผ่าน EXAT Portal การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
22 PL-28 การซิงโครไนซ์คำสั่งซื้อลูกค้ากับแผนกการจัดส่งสินค้า บริษัท เวทโปรดักส์ แอนด์ คอนซัลแตนท์ จำกัด
23 PL-29 ลดระยะเวลาการตรวจสอบและอนุมัติสิทธิการรักษาพยาบาล งานประกันสุขภาพ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

 

 

เอกสารประกอบการประชุม THAILAND QUALITY CONFERENCE & The 21st Symposium on TQM Best-Practices in Thailand

no. รหัสผลงาน ชื่อองค์กร ชื่อบทความที่นำเสนอ Download
  Best Prectices  
1. BP-01 การยกระดับยางก้อนถ้วยมาตรฐาน GAP สู่การผลิตยางเครปมาตรฐาน GMP การยางแห่งประเทศไทย
2. BP-02

ระบบสารสนเทศสําหรับระบบการควบคุมภายใน (การบริหารความเสี่ยงรายสายงาน)

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
 3. BP-03 กลยุทธ์ CRM ที่เติมเต็มความพึงพอใจให้ลูกค้า

บริษัทบริหารสินทรัพย์กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

4. BP-04 การแจ้งเตือนการใช้งบประมาณผ่านอิเล็กทรอนิกส์:  e-Budget Alert คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
5. BP-05 การพัฒนารายงานนำส่งผลการดำเนินการ SIRIRAJ TO MAHIDOL  :  FAST Interface MU Report คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
6. BP-06  การนำองค์การตามหลักธรรมาภิบาล: กรณีการมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาคประชาชนในการป้องกันการเกิดอาชญากรรมคดีพิเศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม
7. BP-07 การพัฒนาประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมายเพื่อปกป้องคุ้มครองสังคมจากอาชญากรรมการหลอกลวงผ่านระบบคอลเซ็นเตอร์ (Call Center)

กองคดีเทคโนโลยีและสารสนเทศ กรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม

8.  BP-08 Cost Saving by Multi-bank Pooling Technique

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  มหาวิทยาลัยมหิดล

9. BP-09 การพัฒนาการจัดทำและจัดเก็บใบเสร็จรับเงินรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Receipt) คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
 10. BP-10  โครงการ FAST MRI/CT BY Partnership Model คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
11. BP-11 Seamless pathology registration การลงทะเบียนสิ่งส่งตรวจพยาธิวิทยาอย่างไร้รอยต่อ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
 12. BP-13 โครงการพัฒนาระบบการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลที่เป็นเลิศของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (Siriraj Electronic Claim) คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
13. BP-14 การพัฒนาโปรแกรมสัญญาการยืมเงินทดรองจ่ายในระบบ SAP คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลมหาวิทยาลัยมหิดล
 14. BP-17  โอกาสเพิ่มรายได้และความพึงพอใจด้วยการเรียนรู้แบบ 360 องศา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
15. BP-18 การลดของเสียที่หลุดออกจากกระบวนการผลิต เพื่อยกระดับสู่คุณภาพระดับสากล บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด (โรงงานบ้านโพธิ์)
16. BP-19 ลดค่าใช้จ่ายในการจัดทำและจัดส่งรายละเอียดประกอบงบไตรมาสสาขา ธนาคารอาคารสงเคราะห์
17. BP-20 การใช้ Dashboard สำหรับการวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินงาน ธนาคารอาคารสงเคราะห์
18. BP-21 การจัดทำโปรแกรมระบบการตัดหนี้อัตโนมัติ (OPD) ของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
19. BP-22  เส้นทางการสร้างประสบการณ์ที่ดีให้แก่บุคลากรของธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (EXIM's Employee Experience Journey: 3E Journey) ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
20.  BP-23 การจัดทำมาตรฐานการจัดการจราจร กรณีซ่อมบำรุงบริเวณด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษฉลองรัช การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
21. BP-24 การปรับปรุงลดของเสียของ Plating process โดย Six sigma บริษัท เม็กเท็ค แมนูแฟ็คเจอริ่ง คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จำกัด
24. BP-25 ลดเวลาในการค้นหา Lot Serial Traceability บริษัท เม็กเท็ค แมนูแฟ็คเจอริ่ง คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จำกัด
25. BP-26 การบริหารจัดการ ดำเนินการสอบวัดความรู้ภาษาอังกฤษ นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
26. BP-27 กระบวนการพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี กองวิชาการและการพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
27. BP-28 กระบวนการลดปริมาณขยะพลาสติกและส่งเสริมการใช้วัสดุทดแทนพลาสติกในวิทยาเขตปัตตานี กองกิจการนักศึกษาวิทยาเขตปัตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
28. BP-29 การปรับปรุงการทำงานด้วยการมีส่วนร่วมตามแนวคิดไคเซ็น สำนักเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการทดสอบ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
29. BP-30 การพัฒนากระบวนการการจัดการในการพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษของผู้เรียนหลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิตที่มีประสิทธิภาพ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
30. BP-31 การรับนักศึกษาเข้าเรียนสถาบันอุดมศึกษาในยุค Disruption คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
31. BP-32 ระบบวางแผนการเดินทางภาคสนาม คณะทรัพยากรธรรมชาติ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
32. BP-33 แนวปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรง โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
33. BP-34 รูปแบบการให้บริการทางห้องปฏิบัติการเอชไอวีของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น

สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น

34. BP-35 เครือข่าย ภาคประชาชน ภาครัฐ ภาคเอกชนร่วมใจป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น
35. BP-36 ระบบสนับสนุนข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ด้านเอชไอวี/เอดส์ แบบครบวงจร (HIV/AIDS Strategic Information Support System: H-SISS) กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
36. BP-37 การวางแผนยุทธศาสตร์เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรดินอย่างยั่งยืน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
37. BP-38 การถ่ายทอดกลยุทธ์สู่ความสำเร็จด้วย OKRs โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
  Progressive Learners  
 1. PL-02 กระบวนการพัฒนาบริการพร้อมส่งผ่านระบบ Prompt Post เพื่อรองรับกลุ่มลูกค้า e-Commerce บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด
 2. PL-03 การปรับปรุงคุณภาพในกระบวนการผลิตกระเบื้องบิสกิตโดยใช้วิธีการออกแบบการทดลอง บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์-ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง จำกัด
3.  PL-04  ปรับปรุงการผลิตกระเบื้องปูพื้น FT60x60 บริษัท เอสซีจี เซรามิกส์ จำกัด(มหาชน)  
4.  PL-05   วาล์วอัตโนมัติ : Auto Mechanic Spool Valve บริษัท เอสซีจี เซรามิกส์ จำกัด(มหาชน)   
 5. PL-06  Cheque Outsourcing เอกสารครบ รับเช็คง่าย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
 6. PL-07   ลดหย่อนถูกต้อง Process ปลอดภัย ร่วมใจพัฒนา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
 7. PL-08  ลดระยะเวลาในการประนอมหนี้ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
 8. PL-09 การนำส่งเงินอายัดทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
9.   PL-10 กระบวนการประเมินและรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค กองนวัตกรรมและวิจัย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
10.   PL-11 กระบวนการพิจารณาเงินเดือนค่าจ้าง คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (กลุ่มงานบริหารและบุคคล)
 11. PL-12 การบริหารจัดการการบริการสวัสดิการภาวะอุบัติเหตุและ/หรือเสียชีวิต สำหรับนักเรียน นักศึกษา และบุคลากรของวิทยาเขตปัตตานี หน่วยพยาบาล กองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
 12. PL-13 การลดของเสีย "ดรอส(Dross)" จากการหลอมตะกั่ว โดยประยุกต์ใช้หลักการวิเคราะห์แบบ Phenomena & Mechanism Analysis บริษัท สยามฟูรูกาวา จำกัด
 13. PL-14 การปรับปรุงผังและกระบวนการการทำงานของธุรกิจ ABC เพื่อลดความสูญเปล่าในการดำเนินงาน: กรณีศึกษาในรายวิชาปัญหาพิเศษ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
 14. PL-15 การพัฒนาองค์กรเชิงกลยุทธ์ ด้วยการจัดทำแบบจำลองทางธุรกิจ ของพลอยใส จิวเวลรี่ พลอยใส จิวเวลรี่
 15. PL-17 การพัฒนาการปฏิบัติงานด้วยแนวคิดด้านอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมการทำงานขององค์กร กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
 16. PL-18 การพัฒนาระบบจัดกลุ่มบัญชีเงินลงทุน (Investment Reclassification Systematic) คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
 17. PL-19 Speedy payment for Special-Clinic staff คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
 18. PL-20 การอนุมัติรายการจ่ายและโอนเงินอัตโนมัติ สำหรับบุคลากรภายใน (Approval Process & Direct Payment) คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

THAILAND QUALITY CONFERENCE & The Symposium on TQM Best-Practices in Thailand

      การประชุม Symposium on TQM-Best Practices in Thailand จัดขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนมุมมองและ ประสบการณ์ของผู้ประยุกต์ใช้ TQM ในประเทศไทย แล้วเกิดผลสำเร็จ เพื่อแสวงหาแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดนำมา ขยายผลให้เป็นที่รับรู้และ เรียนรู้กันอย่างกว้างขวาง โดยจัดขึ้นครั้งแรกในเดือนมีนาคม 2543 

39775416 2054458481251387 4364628650474078208 n

วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติในองค์กรที่ได้นำระบบบริหารทีคิวเอ็มมาประยุกต์ใช้ในประเทศไทย ได้นำเสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งกันและกันเกี่ยวกับ แนวคิด เทคนิค วิธีการ ประสบการณ์ อุปสรรค ปัญหา ตลอดจนแนวทาง วิธีการแก้ไขในการนำทีคิวเอ็มมาประยุกต์ใช้เพื่อแสวงหา "แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด (The Best Practices)" ในแต่ละสาขาของ การบริหาร
  2. เพื่อสร้างความเป็นปึกแผ่นและความมีประสิทธิผลในการส่งเสริมทีคิวเอ็มให้แพร่หลาย อย่างรวดเร็วในประเทศไทยและก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐ สมาคม สถาบัน และบริษัท ที่ปรึกษา ฯลฯ ที่ทำหน้าที่ในการส่งเสริมทีคิวเอ็มอยู่ในประเทศไทย
  3. เพื่อก่อให้เกิดการสะสมและถ่ายทอดประสบการณ์ของผู้ที่ประสบความสำเร็จในการนำทีคิวเอ็มมาประยุกต์ใช้ให้เป็นที่รับรู้และเรียนรู้กันอย่างกว้างขวางทั้งในแวดวงธุรกิจ และวิชาการ ด้านอุตสาหกรรมการผลิต การบริการ การศึกษา และการบริหารของภาคเอกชน และภาครัฐบาล
รูปแบบการประชุม

การประชุมแบ่งออกเป็น  2 ส่วน

ส่วนที่ 1 การประชุมทางวิชาการ แบ่งเป็น 7 สาขา

  1. การนำองค์กร: การกำหนดทิศทางและความคาดหวัง การจัดองค์กรนำกระบวนการนำวิธีการ พัฒนาผู้นำที่มีคุณภาพ การสร้างค่านิยม คุณภาพในองค์กร องค์กรแห่งการเรียนรู้ ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสาธารณะ ฯลฯ
  2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Hoshin Kanri) และการจัดการนโยบาย (การบริหารเข็มมุ่ง): กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์กระบวนการนำแผนเชิงกลยุทธ์ ไปสู่การปฏิบัติกระบวนการจัดการทิศทางและเป้าหมายหลักประจำปี การตรวจวินิจฉัยโดยผู้บริหารระดับสูง ฯลฯ
  3. การเอาใจใส่ลูกค้าและตลาด: ความรู้เกี่ยวกับความต้องการและความคาดหวังของลูกค้าและตลาดเทคนิคและวิธีการหาความต้องการ และการประเมิน ความพึงพอใจของลูกค้า การเปรียบเทียบความสามารถในการแข่งขัน การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า การรักษาลูกค้า ฯลฯ
  4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้: การจัดการสารสนเทศ การใช้เทคนิคทางสถิติ การใช้เครื่องมือคุณภาพ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ฯลฯ
  5. การเอาใจใส่ทรัพยากรบุคคล: การออกแบบระบบงานที่มีคุณภาพสูง เทคนิคและระบบการจูงใจ พนักงาน การส่งเสริมกิจกรรมการมีส่วนร่วมปรับปรุงคุณภาพ  (5ส QCC KYT ฯลฯ) ระบบการฝึกอบรม และพัฒนาบุคลากร  การยกระดับคุณภาพชีวิตของพนักงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน ฯลฯ
  6. การจัดการกระบวนการ: กระบวนการสร้างคุณค่า กระบวนการหลัก กระบวนการสนับสนุน การจัดการ สมรรถนะของผู้ส่งมอบ การจัดการระบบมาตรฐาน เทคนิคการจัดทำเอกสารคู่มือปฏิบัติงาน การจัดการ การปฏิบัติงานประจำวัน การปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง เทคนิคการแก้ปัญหา และป้องกันมิให้เกิดซ้ำ Reengineering, Benchmarking, SPC, SQC, QFD, FMEA, DOE, etc.
  7. การประยุกต์ระบบมาตรฐานต่าง ๆ เข้ากับการบริหารจัดการ: บทเรียนจากการประยุกต์มาตรฐานระบบ ISO 9000, ISO 14000, มอก. 18000, SA 8000  ฯลฯ ตัวอย่างเช่น การประยุกต์ รวมหลายระบบเข้าเป็นหนึ่งเดียว การใช้เป็นเครื่องมือในการปรับปรุงการบริหารจัดการ

ส่วนที่ 2  การจัดนิทรรศการโดยองค์กรต่าง ๆ

การนำเสนอ :   

นำเสนอ 20 นาที
สรุปข้อคิดเห็นโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 นาที
ตอบคำถาม  5  นาที

การจัดการประชุม The 8th Symposium on TQM Best-Practices in Thailand

album01 ชมภาพบรรยากาศการประชุม

 

 

รางวัล ศ.สุรศักดิ์ นานานุกูล ( Best of the Best)

จากผลการจัดการประชุม The 8th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand
ระหว่างวันที่ 11-13 กรกฏาคม 2550 คณะกรรมการกลั่นกรองบทความได้พิจารณาให้ 3 หน่วยงาน
ได้รับรางวัล 
ศ.สุรศักดิ์ นานานุกูลนานานุกูล  ( Best of the  Best ) ได้แก่

1. บทความเรื่อง “สร้างเครือข่ายสัมพันธ์กับลูกค้าผ่านโปรแกรม CMI (Customer & Market Intelligence)” 
จาก บริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด 
โดย คุณ
ประชาธิป ตุลาธน
ผู้จัดการแผนกขายเครื่องมือแพทย์ทั่วไป   บริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด







2. บทความเรื่อง “ลดความสูญเปล่าด้วยแนวคิด TOYOTA WAY (TPS)
จาก บริษัท ชัยวัฒนา แทนเนอรี่ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) 
โดย คุณชนะภัย แก้วบุตรา 
วิศวกร บริษัท ชัยวัฒนา แทนเนอรี่ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)







3. บทความเรื่อง “การอนุรักษ์พลังงานเพื่อช่วยลดภาวะโลกร้อน”
จาก บริษัท โตโยต้ามอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด โรงงานสำโรง 
โดย คุณจิระศักดิ์  เอี๊ยวสกุล 
ผู้ช่วยผู้จัดการ  บริษัท โตโยต้ามอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด







 

รางวัล Popular vote

บทความเรื่อง “การจัดการของเสียอันตรายด้วยเตาเผาสำหรับหน่วยงานที่มีห้องปฏิบัติการ” จาก สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ คว้ารางวัล Popolar Vote ในงาน  The 8th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand นำเสนอโดยคุณสุเทพ ถิรสัตยาพิทักษ์  ผู้เชี่ยวชาญ 2 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติบทความเรื่อง “การจัดการของเสียอันตรายด้วยเตาเผาสำหรับหน่วยงานที่มีห้องปฏิบัติการ” จาก สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ คว้ารางวัล Popolar Vote ในงาน  The 8th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand นำเสนอโดยคุณสุเทพ ถิรสัตยาพิทักษ์  ผู้เชี่ยวชาญ 2 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ


 

The 8th Symposium on TQM Best-Practices in Thailand

การประชุม Symposium on TQM-Best Practices in Thailand จัดขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนมุมมองและ ประสบการณ์ของผู้ประยุกต์ใช้ TQM ในประเทศไทย แล้วเกิดผลสำเร็จ เพื่อแสวงหาแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดนำมา ขยายผลให้เป็นที่รับรู้และ เรียนรู้กันอย่างกว้างขวาง โดยจัดขึ้นครั้งแรกในเดือนมีนาคม 2543 และจัดต่อเนื่องมาทุกปีเป็นเวลา 8 ปี

 

วัตถุประสงค์ 

  1. เพื่อให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติในองค์กรที่ได้นำระบบบริหารทีคิวเอ็มมาประยุกต์ใช้ในประเทศไทย ได้นำเสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งกันและกันเกี่ยวกับ แนวคิด เทคนิค วิธีการ ประสบการณ์ อุปสรรค ปัญหา ตลอดจนแนวทาง วิธีการแก้ไขในการนำทีคิวเอ็มมาประยุกต์ใช้เพื่อแสวงหา "แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด (The Best Practices)" ในแต่ละสาขาของ การบริหาร
  2. เพื่อสร้างความเป็นปึกแผ่นและความมีประสิทธิผลในการส่งเสริมทีคิวเอ็มให้แพร่หลาย อย่างรวดเร็วในประเทศไทยและก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐ สมาคม สถาบัน และบริษัท ที่ปรึกษา ฯลฯ ที่ทำหน้าที่ในการส่งเสริมทีคิวเอ็มอยู่ในประเทศไทย
  3. เพื่อก่อให้เกิดการสะสมและถ่ายทอดประสบการณ์ของผู้ที่ประสบความสำเร็จในการนำทีคิวเอ็มมาประยุกต์ใช้ให้เป็นที่รับรู้และเรียนรู้กันอย่างกว้างขวางทั้งในแวดวงธุรกิจ และวิชาการ ด้านอุตสาหกรรมการผลิต การบริการ การศึกษา และการบริหารของภาคเอกชน และภาครัฐบาล

 

รูปแบบการประชุม

การประชุมแบ่งออกเป็น  2 ส่วน

ส่วนที่ 1 การประชุมทางวิชาการ แบ่งเป็น 7 สาขา

  1. การนำองค์กร: การกำหนดทิศทางและความคาดหวัง การจัดองค์กรนำกระบวนการนำวิธีการ พัฒนาผู้นำที่มีคุณภาพ การสร้างค่านิยม คุณภาพในองค์กร องค์กรแห่งการเรียนรู้ ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสาธารณะ ฯลฯ
  2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Hoshin Kanri) และการจัดการนโยบาย (การบริหารเข็มมุ่ง): กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์กระบวนการนำแผนเชิงกลยุทธ์ ไปสู่การปฏิบัติกระบวนการจัดการทิศทางและเป้าหมายหลักประจำปี การตรวจวินิจฉัยโดยผู้บริหารระดับสูง ฯลฯ
  3. การเอาใจใส่ลูกค้าและตลาด: ความรู้เกี่ยวกับความต้องการและความคาดหวังของลูกค้าและตลาดเทคนิคและวิธีการหาความต้องการ และการประเมิน ความพึงพอใจของลูกค้า การเปรียบเทียบความสามารถในการแข่งขัน การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า การรักษาลูกค้า ฯลฯ
  4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้: การจัดการสารสนเทศ การใช้เทคนิคทางสถิติ การใช้เครื่องมือคุณภาพ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ฯลฯ
  5. การเอาใจใส่ทรัพยากรบุคคล: การออกแบบระบบงานที่มีคุณภาพสูง เทคนิคและระบบการจูงใจ พนักงาน การส่งเสริมกิจกรรมการมีส่วนร่วมปรับปรุงคุณภาพ  (5ส QCC KYT ฯลฯ) ระบบการฝึกอบรม และพัฒนาบุคลากร  การยกระดับคุณภาพชีวิตของพนักงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน ฯลฯ
  6. การจัดการกระบวนการ: กระบวนการสร้างคุณค่า กระบวนการหลัก กระบวนการสนับสนุน การจัดการ สมรรถนะของผู้ส่งมอบ การจัดการระบบมาตรฐาน เทคนิคการจัดทำเอกสารคู่มือปฏิบัติงาน การจัดการ การปฏิบัติงานประจำวัน การปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง เทคนิคการแก้ปัญหา และป้องกันมิให้เกิดซ้ำ Reengineering, Benchmarking, SPC, SQC, QFD, FMEA, DOE, etc.
  7. การประยุกต์ระบบมาตรฐานต่าง ๆ เข้ากับการบริหารจัดการ: บทเรียนจากการประยุกต์มาตรฐานระบบ ISO 9000, ISO 14000, มอก. 18000, SA 8000  ฯลฯ ตัวอย่างเช่น การประยุกต์ รวมหลายระบบเข้าเป็นหนึ่งเดียว การใช้เป็นเครื่องมือในการปรับปรุงการบริหารจัดการ

ส่วนที่ 2  การจัดนิทรรศการโดยองค์กรต่าง ๆ

กำหนดวันประชุม : 
วันที่  11 - 13 กรกฏาคม พ.ศ. 2550 
ห้องบอลรูม โรงแรมเซ็นจูรี พาร์ค กรุงเทพ ถนนราชปรารภ
การนำเสนอ :   
นำเสนอ 30 นาที 
สรุปข้อคิดเห็นโดยผู้เชี่ยวชาญ 10 นาที 
ตอบคำถาม  5  นาที

 

คณะกรรมการจัดการประชุม

ชื่อ-นามสกุล
ตำแหน่ง
หน่วยงาน
นายพานิช เหล่าศิริรัตน์ ที่ปรึกษา สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
นางชัชนาถ  เทพธรานนท์ ที่ปรึกษา สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
นางศุภวรรณ  เขียวขจี ที่ปรึกษา บริษัท ไพรม์เอเซีย จำกัด
นายประยูร เชี่ยววัฒนา ที่ปรึกษา สถาบันส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
นางลดาวัลย์   กระแสร์ชล ประธานกรรมการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
นายปริทรรศน์   พันธุบรรยงก์ รองประธาน ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
นายอานนท์   ปวีณวัฒน์ รองประธาน บริษัท ซียูอีแอล จำกัด
นายสมชาย   นิราพาธพงศ์พร รองประธาน บริษัท  สยามคาสท์ไออ้อนเวอร์คส์ จำกัด
นายสังวร   รัตนรักษ์ กรรมการ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
นายสมชาย  ฉัตรรัตนา กรรมการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
นางสาวสุดารัตน์  คงแป้น กรรมการ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
นายวีรพจน์   ลือประสิทธิ์สกุล กรรมการ บริษัท ทีคิวเอ็ม เบสท์ จำกัด
นายประเสริฐ   สุทธิประสิทธิ์ กรรมการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
นายดำรงค์  ทวีแสงสกุลไทย กรรมการ คณะวิศวกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นางนงลักษณ์  ปานเกิดดี กรรมการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)
นายสามารถ   หงษ์วิไล กรรมการ สำนักบริหารคุณภาพ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 
นายพงษ์ศักดิ์   เพียรพานิชย์ กรรมการ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
นายไพรัช รุ้งรุจิเมฆ กรรมการ สมาคมศิษย์เก่า ABK & AOTS (ประเทศไทย)
นายชูชาติ วิรเศรณี กรรมการ วิทยากรที่ปรึกษาอิสระ
นายพัฒนชัย  กุลสิริสวัสดิ์ กรรมการ กลุ่มบริษัท ชัยบูรณ์ บราเดอร์ส
นางสาวปรานี   พรรณวิเชียร กรรมการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี  
นายภิรมย์   แจ่มใส กรรมการ สมาคมมาตรฐานและคุณภาพแห่งประเทศไทย
นางจุรีรัตน์  สุวรรณวิทยา กรรมการ สถาบันยานยนต์
นายกิตติ  วิสุทธิรัตนกุล กรรมการ บริษัท เทคโนโลยีมีเดีย จำกัด
นางณัฐกาญจน์  สุวรรณปฏิกรณ์ กรรมการ บริษัท ไดเร็คท์ ออกาไนซิ่ง ซัพพลาย จำกัด
นายสนิท  เอกแสงกุล กรรมการ บริษัท อีซึ่น เพ้นท์ จำกัด (มหาชน)
นางพูลพร  แสงบางปลา กรรมการ สมาคมมาตรฐานและคุณภาพแห่งประเทศไทย
นางสาวบุษบา  ชูสุข กรรมการ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
นางประไพพรรณ  อ่อนสมา กรรมการ ธนาคารกรุงเทพ
นายสมบัติ ธีระตระกูลชัย กรรมการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
นายอนุวรรตน์ ศิลกเรืองอำไพ กรรมการ สถาบันส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
คุณพิไลพรรณ นวานุช กรรมการ บริษัท กรีนสปอต จำกัด
นางสาวกาญจนา   ปฏิบัติ กรรมการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
นางศุภวรรณ  ลีลาการุณย์ กรรมการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
นางสาวน้ำทิพย์  เจริญอนงค์ กรรมการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
นายเจริญชัย ฉิมเนียม เลขานุการ  

 

กำหนดการจัดการประชุม

(ร่าง)กำหนดการจัดการประชุม
The 8 th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand
11-13 กรกฎาคม  2550  ณ โรงแรมเซ็นจูรี พาร์ค กรุงเทพ

11 กรกฎาคม 2550                        Pre-Conference Session

08.00 – 09.00 ลงทะเบียน
09.00 – 12.00 “Total Quality Management - The Business Strategy for Sustainable Growth – The Thai Acrylic Experience”
โดย Mr. Rituraj Shah, Vice President (Engineering), facilitator TQM & HR
บริษัท ไทยอคริลิกไฟเบอร์ จำกัด
12.00 – 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.00 Introduction to Risk Management  and Case study โดย 
นายดำรง ทวีแสงสกุลไทย   คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
14.00 – 14.15 พักรับประทานอาหารว่าง
14.15 – 16.15 เสวนา  "Risk Management for Thai Organization" โดย
คุณสิงห์ ตังทัตสวัสดิ์                           กรรมการผู้อำนวยการ ธนาคารกรุงเทพ 
คุณชาญนาวิน สุกแจ่มใส                     อดีตผู้อำนวยการสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ 
ดร.นฤมล สอาดโฉม                           สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ดำเนินการเสวนาโดย  
นายดำรง ทวีแสงสกุลไทย  คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
16.15 – 16.30  ถาม-ตอบ

12 กรกฎาคม 2550                        Conference Session

08.00 – 09.00 ลงทะเบียน
09.00 – 09.15 กล่าวต้อนรับ โดย ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ ประธานมูลนิธิส่งเสริมทีคิวเอ็มในประเทศไทย
09.15 – 10.15 บรรยายพิเศษ เรื่อง “ภาวะผู้นำกับการดำเนินธุรกิจของไทยให้ประสบผลสำเร็จในยุค
เศรษฐกิจพอเพียง”
 โดย 
คุณก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์  ประธานกรรมการ บริษัท ซี.พี. เซเว่นอีเลฟเว่น จำกัด (มหาชน)
10.15 – 10.30 พิธีเปิดการประชุม The 8th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand
โดย นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ 
รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10.30 – 10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 – 11.30 นำเสนอบทความ Best Practices หมวด 1 การนำองค์กร 
1. การปฏิบัติสู่ความเป็นผู้นำทางการวิจัย ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
11.30 – 12.15 นำเสนอบทความ Best Practices หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 
2. การบริหารเข็มมุ่ง 
บริษัท อภิฤดีอุตสาหกรรม จำกัด
12.10 – 13.15  พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.15 – 14.00  นำเสนอบทความ Best Practices หมวด 3 การเอาใจใส่ลูกค้าและตลาด
3. สร้างเครือข่ายสัมพันธ์กับลูกค้าผ่านโปรแกรม CMI : Customer & Market Intelligence 
บริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด
14.00 – 14.45    

นำเสนอบทความ Best Practices หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 
4. การลดมูลค่าความสูญเสียจากการบรรจุปริมาณของเหลวเกินค่าเป้าหมาย กรณี บริษัท ยูนิลิเลอร์ไทย เทรดดิ้ง จำกัด
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

14.45 – 15.00 พักรับประทานอาหารว่างนำเสนอบทความ Best Practices หมวด 5 การเอาใจใส่ทรัพยากรบุคคล 
5. การวางรากฐานของระบบงานเพื่อนำไปสู่ความเป็น Performance Excellence 
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ       
15.00 – 15.15 พักรับประทานอาหารว่าง
15.15 – 16.30 6. ความสําคัญของการพัฒนาบุคลากรในการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค?กร
บริษัท ไทยอคริลิคไฟเบอร์ จำกัด
16.30 – 17.15

7. ลดความสูญเปล่าด้วยแนวคิด TOYOTA WAY (TPS)
บริษัท ชัยวัฒนา แทนเนอรี่ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

13 กรกฎาคม 2550                        Conference Session

08.00 – 09.00 ลงทะเบียน
09.00 – 10.00 บรรยายพิเศษ เรื่อง “การบริหารเพื่อความเป็นเลิศ” โดย 
คุณขรรค์ ประจวบเหมาะ กรรมการผู้จัดการ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
10.00 – 10.15 พักรับประทานอาหารว่าง
10.15 – 11.00 8. การลดของเสียในการผลิต Fused Biconic Coupler
ศูนย์ระดับภูมิภาคทางวิศวกรรมระบบการผลิต คณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
11.00 – 11.45 9. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงของอุตสาหกรรมบริการ กรณีศึกษา ศูนย์บำบัดสุขภาพธารน้ำแร่จังหวัดระนอง
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
11.45 – 12.30 10. การจัดการของเสียอันตรายด้วยเตาเผาสำหรับหน่วยงานที่มีห้องปฏิบัติการฯ 
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
12.30 – 13.30 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.30 – 14.15 11. การอนุรักษ์พลังงานเพื่อช่วยลดภาวะโลกร้อนในโรงงานสำโรง
บริษัท โตโยต้ามอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด
14.15 – 15.00 12. การบูรณาการระบบการประเมินความเสี่ยงและประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม
บริษัท ชัยบูรณ์ บราเดอร์ส จำกัด
15.00 – 15.15

รับประทานอาหารว่าง

15.15 – 16.00

13. ป้องกันความเสี่ยงด้วยระบบการตรวจสอบภายในองค์กร
บริษัท ชัยบูรณ์ บราเดอร์ส จำกัด

16.00 – 16.45

Panel Discussion โดย 
คุณสมชาย นิราพาธพงศ์พร     
คุณปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ 
คุณพัฒนชัย กุลสิริสวัสดิ์                           
คุณสามารถ หงส์วิไล                         
คุณวีรพจน์ ลือประสิทธิสกุล            
คุณพงษ์ศักดิ์ เพียรพานิช

16.45 – 17.15 ประกาศผลและมอบรางวัล ศ.สุรศักดิ์ นานานุกูล ( Best of the Best) และรางวัล Popular Vote 
และพิธีปิดการสัมมนาโดย ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


Download เอกสารประกอบ

DOWNLOAD TQM Symposium 2007 (pdf file 134 KB new 27/6/2550)

การจัดการประชุม The 9th Symposium on TQM Best-Practices in Thailand

album01 ชมภาพบรรยากาศการประชุม

 

 

The 9th Symposium on TQM Best-Practices in Thailand

การประชุม Symposium on TQM-Best Practices in Thailand จัดขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนมุมมองและ ประสบการณ์ของผู้ประยุกต์ใช้ TQM ในประเทศไทย แล้วเกิดผลสำเร็จ เพื่อแสวงหาแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดนำมา ขยายผลให้เป็นที่รับรู้และ เรียนรู้กันอย่างกว้างขวาง โดยจัดขึ้นครั้งแรกในเดือนมีนาคม 2543 และจัดต่อเนื่องมาทุกปีเป็นเวลา 9 ปี

 

วัตถุประสงค์

      1. เพื่อให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติในองค์กรที่ได้นำระบบบริหารทีคิวเอ็มมาประยุกต์ใช้ในประเทศไทย ได้นำเสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งกันและกันเกี่ยวกับ แนวคิด เทคนิค วิธีการ ประสบการณ์ อุปสรรค ปัญหา ตลอดจนแนวทาง วิธีการแก้ไขในการนำทีคิวเอ็มมาประยุกต์ใช้เพื่อแสวงหา "แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด (The Best Practices)" ในแต่ละสาขาของ การบริหาร
      2. เพื่อสร้างความเป็นปึกแผ่นและความมีประสิทธิผลในการส่งเสริมทีคิวเอ็มให้แพร่หลาย อย่างรวดเร็วในประเทศไทยและก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐ สมาคม สถาบัน และบริษัท ที่ปรึกษา ฯลฯ ที่ทำหน้าที่ในการส่งเสริมทีคิวเอ็มอยู่ในประเทศไทย
      3. เพื่อก่อให้เกิดการสะสมและถ่ายทอดประสบการณ์ของผู้ที่ประสบความสำเร็จในการนำทีคิวเอ็มมาประยุกต์ใช้ให้เป็นที่รับรู้และเรียนรู้กันอย่างกว้างขวางทั้งในแวดวงธุรกิจ และวิชาการ ด้านอุตสาหกรรมการผลิต การบริการ การศึกษา และการบริหารของภาคเอกชน และภาครัฐบาล

 

รูปแบบการประชุม

การประชุมแบ่งออกเป็น  2 ส่วน

ส่วนที่ 1 การประชุมทางวิชาการ แบ่งเป็น 7 สาขา

      1. การนำองค์กร: การกำหนดทิศทางและความคาดหวัง การจัดองค์กรนำกระบวนการนำวิธีการ พัฒนาผู้นำที่มีคุณภาพ การสร้างค่านิยม คุณภาพในองค์กร องค์กรแห่งการเรียนรู้ ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสาธารณะ ฯลฯ
      2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Hoshin Kanri) และการจัดการนโยบาย (การบริหารเข็มมุ่ง): กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์กระบวนการนำแผนเชิงกลยุทธ์ ไปสู่การปฏิบัติกระบวนการจัดการทิศทางและเป้าหมายหลักประจำปี การตรวจวินิจฉัยโดยผู้บริหารระดับสูง ฯลฯ
      3. การเอาใจใส่ลูกค้าและตลาด: ความรู้เกี่ยวกับความต้องการและความคาดหวังของลูกค้าและตลาดเทคนิคและวิธีการหาความต้องการ และการประเมิน ความพึงพอใจของลูกค้า การเปรียบเทียบความสามารถในการแข่งขัน การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า การรักษาลูกค้า ฯลฯ
      4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้: การจัดการสารสนเทศ การใช้เทคนิคทางสถิติ การใช้เครื่องมือคุณภาพ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ฯลฯ
      5. การเอาใจใส่ทรัพยากรบุคคล: การออกแบบระบบงานที่มีคุณภาพสูง เทคนิคและระบบการจูงใจ พนักงาน การส่งเสริมกิจกรรมการมีส่วนร่วมปรับปรุงคุณภาพ  (5ส QCC KYT ฯลฯ) ระบบการฝึกอบรม และพัฒนาบุคลากร  การยกระดับคุณภาพชีวิตของพนักงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน ฯลฯ
      6. การจัดการกระบวนการ: กระบวนการสร้างคุณค่า กระบวนการหลัก กระบวนการสนับสนุน การจัดการ สมรรถนะของผู้ส่งมอบ การจัดการระบบมาตรฐาน เทคนิคการจัดทำเอกสารคู่มือปฏิบัติงาน การจัดการ การปฏิบัติงานประจำวัน การปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง เทคนิคการแก้ปัญหา และป้องกันมิให้เกิดซ้ำ Reengineering, Benchmarking, SPC, SQC, QFD, FMEA, DOE, etc.
      7. การประยุกต์ระบบมาตรฐานต่าง ๆ เข้ากับการบริหารจัดการ: บทเรียนจากการประยุกต์มาตรฐานระบบ ISO 9000, ISO 14000, มอก. 18000, SA 8000  ฯลฯ ตัวอย่างเช่น การประยุกต์ รวมหลายระบบเข้าเป็นหนึ่งเดียว การใช้เป็นเครื่องมือในการปรับปรุงการบริหารจัดการ

ส่วนที่ 2  การจัดนิทรรศการโดยองค์กรต่าง ๆ

กำหนดวันประชุม : 
วันที่  28 - 30 ตุลาคม พ.ศ. 2551 
Swissotel Le Congcorde : Bangkok
การนำเสนอ :   
นำเสนอ 30 นาที 
สรุปข้อคิดเห็นโดยผู้เชี่ยวชาญ 10 นาที 
ตอบคำถาม  5  นาที

 

คณะกรรมการจัดการประชุม

ลำดับ ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง หน่วยงาน
1 นายพานิช เหล่าศิริรัตน์ ที่ปรึกษา สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
2 นางศุภวรรณ  เขียวขจี ที่ปรึกษา บริษัท ไพรม์เอเซีย จำกัด
3 นายประยูร เชี่ยววัฒนา ที่ปรึกษา สถาบันส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
4 นายวิเชียร จึงวิโรจน์ ที่ปรึกษา บริษัท ซี.พี.ออล จำกัด (มหาชน)
5 นายพัฒนชัย  กุลสิริสวัสดิ์ ประธานกรรมการ บริษัท ชัยบูรณ์ บราเดอร์ส  จำกัด
6 นางลดาวัลย์   กระแสร์ชล รองประธานกรรมการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
7 นายปริทรรศน์   พันธุบรรยงก์ รองประธาน ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
8 นายอานนท์   ปวีณวัฒน์ รองประธาน บริษัท ซียูอีแอล จำกัด
9 นายสมชาย   นิราพาธพงศ์พร รองประธาน บริษัท  สยามคาสท์ไออ้อนเวอร์คส์ จำกัด
10 นายสังวร   รัตนรักษ์ กรรมการ  
11 นายสมชาย  ฉัตรรัตนา กรรมการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
12 นางสาวสุดารัตน์  คงแป้น กรรมการ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
13 นายวีรพจน์   ลือประสิทธิ์สกุล กรรมการ บริษัท ทีคิวเอ็ม เบสท์ จำกัด
14 นายประเสริฐ   สุทธิประสิทธิ์ กรรมการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
15 นายดำรงค์  ทวีแสงสกุลไทย กรรมการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
16 นางนงลักษณ์  ปานเกิดดี กรรมการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)
17 นายสามารถ   หงษ์วิไล กรรมการ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 
18 นายพงษ์ศักดิ์   เพียรพานิชย์ กรรมการ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
19 นายไพรัช รุ้งรุจิเมฆ กรรมการ สมาคมศิษย์เก่า ABK & AOTS (ประเทศไทย)
20 นายชูชาติ วิรเศรณี กรรมการ  
21 นางสาวปรานี   พรรณวิเชียร กรรมการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี   
22 นายภิรมย์   แจ่มใส กรรมการ สมาคมมาตรฐานและคุณภาพแห่งประเทศไทย
23 นางจุรีรัตน์  สุวรรณวิทยา กรรมการ สถาบันยานยนต์
24 นายกิตติ  วิสุทธิรัตนกุล กรรมการ บริษัท เทคโนโลยีมีเดีย จำกัด
25 นางณัฐกาญจน์  สุวรรณปฏิกรณ์ กรรมการ บริษัท ไดเร็คท์ ออกาไนซิ่ง ซัพพลาย จำกัด
26 นายสนิท  เอกแสงกุล กรรมการ บริษัท อีซึ่น เพ้นท์ จำกัด (มหาชน)
27 นางพูลพร  แสงบางปลา กรรมการ สมาคมมาตรฐานและคุณภาพแห่งประเทศไทย
28 นางสาวบุษบา  ชูสุข กรรมการ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
29 นางประไพพรรณ  อ่อนสมา กรรมการ ธนาคารกรุงเทพ
30 นายสมบัติ ธีระตระกูลชัย กรรมการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
31 นายอนุวรรตน์ ศิลกเรืองอำไพ กรรมการ สถาบันส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
32 คุณพิไลพรรณ นวานุช กรรมการ TAL Apparel Limited
33 นางสาวกาญจนา   ปฏิบัติ กรรมการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
34 นางสาวน้ำทิพย์  เจริญอนงค์ กรรมการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
35 คุณนัชชา เทียมพิทักษ์ กรรมการ บริษัท ซี.พี.ออล จำกัด (มหาชน)
36 นายจำลักษณ์ ขุนพลแก้ว กรรมการ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
37 นางทิพวรรณ วัฒนวิทย์ กรรมการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
38 คุณรัตนทิพย์ รัตนชัย กรรมการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
39 นายเจริญชัย ฉิมเนียม เลขานุการ มูลนิธิส่งเสริมทีคิวเอ็มในประเทศไทย

 

Download เอกสารประกอบต่างๆ

DOWNLOAD ใบสมัครบทคัดย่อ Abstract และ Full Paper TQM-Best Practices 2008
  pacrobat Download pdf file 195 KB
  pexcel Download doc file 143 KB
DOWNLOAD เอกสารแนะนำการประชุม
  pexcel Download pdf file 218 KB

หมวดหมู่รอง