th en
 
 

Symposium on TQM Best-Practices



การจัดการประชุม The 8th Symposium on TQM Best-Practices in Thailand

album01 ชมภาพบรรยากาศการประชุม

 

 

รางวัล ศ.สุรศักดิ์ นานานุกูล ( Best of the Best)

จากผลการจัดการประชุม The 8th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand
ระหว่างวันที่ 11-13 กรกฏาคม 2550 คณะกรรมการกลั่นกรองบทความได้พิจารณาให้ 3 หน่วยงาน
ได้รับรางวัล 
ศ.สุรศักดิ์ นานานุกูลนานานุกูล  ( Best of the  Best ) ได้แก่

1. บทความเรื่อง “สร้างเครือข่ายสัมพันธ์กับลูกค้าผ่านโปรแกรม CMI (Customer & Market Intelligence)” 
จาก บริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด 
โดย คุณ
ประชาธิป ตุลาธน
ผู้จัดการแผนกขายเครื่องมือแพทย์ทั่วไป   บริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด







2. บทความเรื่อง “ลดความสูญเปล่าด้วยแนวคิด TOYOTA WAY (TPS)
จาก บริษัท ชัยวัฒนา แทนเนอรี่ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) 
โดย คุณชนะภัย แก้วบุตรา 
วิศวกร บริษัท ชัยวัฒนา แทนเนอรี่ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)







3. บทความเรื่อง “การอนุรักษ์พลังงานเพื่อช่วยลดภาวะโลกร้อน”
จาก บริษัท โตโยต้ามอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด โรงงานสำโรง 
โดย คุณจิระศักดิ์  เอี๊ยวสกุล 
ผู้ช่วยผู้จัดการ  บริษัท โตโยต้ามอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด







 

รางวัล Popular vote

บทความเรื่อง “การจัดการของเสียอันตรายด้วยเตาเผาสำหรับหน่วยงานที่มีห้องปฏิบัติการ” จาก สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ คว้ารางวัล Popolar Vote ในงาน  The 8th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand นำเสนอโดยคุณสุเทพ ถิรสัตยาพิทักษ์  ผู้เชี่ยวชาญ 2 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติบทความเรื่อง “การจัดการของเสียอันตรายด้วยเตาเผาสำหรับหน่วยงานที่มีห้องปฏิบัติการ” จาก สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ คว้ารางวัล Popolar Vote ในงาน  The 8th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand นำเสนอโดยคุณสุเทพ ถิรสัตยาพิทักษ์  ผู้เชี่ยวชาญ 2 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ


 

The 8th Symposium on TQM Best-Practices in Thailand

การประชุม Symposium on TQM-Best Practices in Thailand จัดขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนมุมมองและ ประสบการณ์ของผู้ประยุกต์ใช้ TQM ในประเทศไทย แล้วเกิดผลสำเร็จ เพื่อแสวงหาแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดนำมา ขยายผลให้เป็นที่รับรู้และ เรียนรู้กันอย่างกว้างขวาง โดยจัดขึ้นครั้งแรกในเดือนมีนาคม 2543 และจัดต่อเนื่องมาทุกปีเป็นเวลา 8 ปี

 

วัตถุประสงค์ 

  1. เพื่อให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติในองค์กรที่ได้นำระบบบริหารทีคิวเอ็มมาประยุกต์ใช้ในประเทศไทย ได้นำเสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งกันและกันเกี่ยวกับ แนวคิด เทคนิค วิธีการ ประสบการณ์ อุปสรรค ปัญหา ตลอดจนแนวทาง วิธีการแก้ไขในการนำทีคิวเอ็มมาประยุกต์ใช้เพื่อแสวงหา "แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด (The Best Practices)" ในแต่ละสาขาของ การบริหาร
  2. เพื่อสร้างความเป็นปึกแผ่นและความมีประสิทธิผลในการส่งเสริมทีคิวเอ็มให้แพร่หลาย อย่างรวดเร็วในประเทศไทยและก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐ สมาคม สถาบัน และบริษัท ที่ปรึกษา ฯลฯ ที่ทำหน้าที่ในการส่งเสริมทีคิวเอ็มอยู่ในประเทศไทย
  3. เพื่อก่อให้เกิดการสะสมและถ่ายทอดประสบการณ์ของผู้ที่ประสบความสำเร็จในการนำทีคิวเอ็มมาประยุกต์ใช้ให้เป็นที่รับรู้และเรียนรู้กันอย่างกว้างขวางทั้งในแวดวงธุรกิจ และวิชาการ ด้านอุตสาหกรรมการผลิต การบริการ การศึกษา และการบริหารของภาคเอกชน และภาครัฐบาล

 

รูปแบบการประชุม

การประชุมแบ่งออกเป็น  2 ส่วน

ส่วนที่ 1 การประชุมทางวิชาการ แบ่งเป็น 7 สาขา

  1. การนำองค์กร: การกำหนดทิศทางและความคาดหวัง การจัดองค์กรนำกระบวนการนำวิธีการ พัฒนาผู้นำที่มีคุณภาพ การสร้างค่านิยม คุณภาพในองค์กร องค์กรแห่งการเรียนรู้ ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสาธารณะ ฯลฯ
  2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Hoshin Kanri) และการจัดการนโยบาย (การบริหารเข็มมุ่ง): กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์กระบวนการนำแผนเชิงกลยุทธ์ ไปสู่การปฏิบัติกระบวนการจัดการทิศทางและเป้าหมายหลักประจำปี การตรวจวินิจฉัยโดยผู้บริหารระดับสูง ฯลฯ
  3. การเอาใจใส่ลูกค้าและตลาด: ความรู้เกี่ยวกับความต้องการและความคาดหวังของลูกค้าและตลาดเทคนิคและวิธีการหาความต้องการ และการประเมิน ความพึงพอใจของลูกค้า การเปรียบเทียบความสามารถในการแข่งขัน การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า การรักษาลูกค้า ฯลฯ
  4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้: การจัดการสารสนเทศ การใช้เทคนิคทางสถิติ การใช้เครื่องมือคุณภาพ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ฯลฯ
  5. การเอาใจใส่ทรัพยากรบุคคล: การออกแบบระบบงานที่มีคุณภาพสูง เทคนิคและระบบการจูงใจ พนักงาน การส่งเสริมกิจกรรมการมีส่วนร่วมปรับปรุงคุณภาพ  (5ส QCC KYT ฯลฯ) ระบบการฝึกอบรม และพัฒนาบุคลากร  การยกระดับคุณภาพชีวิตของพนักงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน ฯลฯ
  6. การจัดการกระบวนการ: กระบวนการสร้างคุณค่า กระบวนการหลัก กระบวนการสนับสนุน การจัดการ สมรรถนะของผู้ส่งมอบ การจัดการระบบมาตรฐาน เทคนิคการจัดทำเอกสารคู่มือปฏิบัติงาน การจัดการ การปฏิบัติงานประจำวัน การปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง เทคนิคการแก้ปัญหา และป้องกันมิให้เกิดซ้ำ Reengineering, Benchmarking, SPC, SQC, QFD, FMEA, DOE, etc.
  7. การประยุกต์ระบบมาตรฐานต่าง ๆ เข้ากับการบริหารจัดการ: บทเรียนจากการประยุกต์มาตรฐานระบบ ISO 9000, ISO 14000, มอก. 18000, SA 8000  ฯลฯ ตัวอย่างเช่น การประยุกต์ รวมหลายระบบเข้าเป็นหนึ่งเดียว การใช้เป็นเครื่องมือในการปรับปรุงการบริหารจัดการ

ส่วนที่ 2  การจัดนิทรรศการโดยองค์กรต่าง ๆ

กำหนดวันประชุม : 
วันที่  11 - 13 กรกฏาคม พ.ศ. 2550 
ห้องบอลรูม โรงแรมเซ็นจูรี พาร์ค กรุงเทพ ถนนราชปรารภ
การนำเสนอ :   
นำเสนอ 30 นาที 
สรุปข้อคิดเห็นโดยผู้เชี่ยวชาญ 10 นาที 
ตอบคำถาม  5  นาที

 

คณะกรรมการจัดการประชุม

ชื่อ-นามสกุล
ตำแหน่ง
หน่วยงาน
นายพานิช เหล่าศิริรัตน์ ที่ปรึกษา สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
นางชัชนาถ  เทพธรานนท์ ที่ปรึกษา สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
นางศุภวรรณ  เขียวขจี ที่ปรึกษา บริษัท ไพรม์เอเซีย จำกัด
นายประยูร เชี่ยววัฒนา ที่ปรึกษา สถาบันส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
นางลดาวัลย์   กระแสร์ชล ประธานกรรมการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
นายปริทรรศน์   พันธุบรรยงก์ รองประธาน ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
นายอานนท์   ปวีณวัฒน์ รองประธาน บริษัท ซียูอีแอล จำกัด
นายสมชาย   นิราพาธพงศ์พร รองประธาน บริษัท  สยามคาสท์ไออ้อนเวอร์คส์ จำกัด
นายสังวร   รัตนรักษ์ กรรมการ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
นายสมชาย  ฉัตรรัตนา กรรมการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
นางสาวสุดารัตน์  คงแป้น กรรมการ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
นายวีรพจน์   ลือประสิทธิ์สกุล กรรมการ บริษัท ทีคิวเอ็ม เบสท์ จำกัด
นายประเสริฐ   สุทธิประสิทธิ์ กรรมการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
นายดำรงค์  ทวีแสงสกุลไทย กรรมการ คณะวิศวกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นางนงลักษณ์  ปานเกิดดี กรรมการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)
นายสามารถ   หงษ์วิไล กรรมการ สำนักบริหารคุณภาพ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 
นายพงษ์ศักดิ์   เพียรพานิชย์ กรรมการ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
นายไพรัช รุ้งรุจิเมฆ กรรมการ สมาคมศิษย์เก่า ABK & AOTS (ประเทศไทย)
นายชูชาติ วิรเศรณี กรรมการ วิทยากรที่ปรึกษาอิสระ
นายพัฒนชัย  กุลสิริสวัสดิ์ กรรมการ กลุ่มบริษัท ชัยบูรณ์ บราเดอร์ส
นางสาวปรานี   พรรณวิเชียร กรรมการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี  
นายภิรมย์   แจ่มใส กรรมการ สมาคมมาตรฐานและคุณภาพแห่งประเทศไทย
นางจุรีรัตน์  สุวรรณวิทยา กรรมการ สถาบันยานยนต์
นายกิตติ  วิสุทธิรัตนกุล กรรมการ บริษัท เทคโนโลยีมีเดีย จำกัด
นางณัฐกาญจน์  สุวรรณปฏิกรณ์ กรรมการ บริษัท ไดเร็คท์ ออกาไนซิ่ง ซัพพลาย จำกัด
นายสนิท  เอกแสงกุล กรรมการ บริษัท อีซึ่น เพ้นท์ จำกัด (มหาชน)
นางพูลพร  แสงบางปลา กรรมการ สมาคมมาตรฐานและคุณภาพแห่งประเทศไทย
นางสาวบุษบา  ชูสุข กรรมการ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
นางประไพพรรณ  อ่อนสมา กรรมการ ธนาคารกรุงเทพ
นายสมบัติ ธีระตระกูลชัย กรรมการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
นายอนุวรรตน์ ศิลกเรืองอำไพ กรรมการ สถาบันส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
คุณพิไลพรรณ นวานุช กรรมการ บริษัท กรีนสปอต จำกัด
นางสาวกาญจนา   ปฏิบัติ กรรมการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
นางศุภวรรณ  ลีลาการุณย์ กรรมการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
นางสาวน้ำทิพย์  เจริญอนงค์ กรรมการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 
นายเจริญชัย ฉิมเนียม เลขานุการ  

 

กำหนดการจัดการประชุม

(ร่าง)กำหนดการจัดการประชุม
The 8 th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand
11-13 กรกฎาคม  2550  ณ โรงแรมเซ็นจูรี พาร์ค กรุงเทพ

11 กรกฎาคม 2550                        Pre-Conference Session

08.00 – 09.00 ลงทะเบียน
09.00 – 12.00 “Total Quality Management - The Business Strategy for Sustainable Growth – The Thai Acrylic Experience”
โดย Mr. Rituraj Shah, Vice President (Engineering), facilitator TQM & HR
บริษัท ไทยอคริลิกไฟเบอร์ จำกัด
12.00 – 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.00 Introduction to Risk Management  and Case study โดย 
นายดำรง ทวีแสงสกุลไทย   คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
14.00 – 14.15 พักรับประทานอาหารว่าง
14.15 – 16.15 เสวนา  "Risk Management for Thai Organization" โดย
คุณสิงห์ ตังทัตสวัสดิ์                           กรรมการผู้อำนวยการ ธนาคารกรุงเทพ 
คุณชาญนาวิน สุกแจ่มใส                     อดีตผู้อำนวยการสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ 
ดร.นฤมล สอาดโฉม                           สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ดำเนินการเสวนาโดย  
นายดำรง ทวีแสงสกุลไทย  คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
16.15 – 16.30  ถาม-ตอบ

12 กรกฎาคม 2550                        Conference Session

08.00 – 09.00 ลงทะเบียน
09.00 – 09.15 กล่าวต้อนรับ โดย ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ ประธานมูลนิธิส่งเสริมทีคิวเอ็มในประเทศไทย
09.15 – 10.15 บรรยายพิเศษ เรื่อง “ภาวะผู้นำกับการดำเนินธุรกิจของไทยให้ประสบผลสำเร็จในยุค
เศรษฐกิจพอเพียง”
 โดย 
คุณก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์  ประธานกรรมการ บริษัท ซี.พี. เซเว่นอีเลฟเว่น จำกัด (มหาชน)
10.15 – 10.30 พิธีเปิดการประชุม The 8th Symposium on TQM-Best Practices in Thailand
โดย นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ 
รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10.30 – 10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 – 11.30 นำเสนอบทความ Best Practices หมวด 1 การนำองค์กร 
1. การปฏิบัติสู่ความเป็นผู้นำทางการวิจัย ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
11.30 – 12.15 นำเสนอบทความ Best Practices หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 
2. การบริหารเข็มมุ่ง 
บริษัท อภิฤดีอุตสาหกรรม จำกัด
12.10 – 13.15  พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.15 – 14.00  นำเสนอบทความ Best Practices หมวด 3 การเอาใจใส่ลูกค้าและตลาด
3. สร้างเครือข่ายสัมพันธ์กับลูกค้าผ่านโปรแกรม CMI : Customer & Market Intelligence 
บริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด
14.00 – 14.45    

นำเสนอบทความ Best Practices หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 
4. การลดมูลค่าความสูญเสียจากการบรรจุปริมาณของเหลวเกินค่าเป้าหมาย กรณี บริษัท ยูนิลิเลอร์ไทย เทรดดิ้ง จำกัด
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

14.45 – 15.00 พักรับประทานอาหารว่างนำเสนอบทความ Best Practices หมวด 5 การเอาใจใส่ทรัพยากรบุคคล 
5. การวางรากฐานของระบบงานเพื่อนำไปสู่ความเป็น Performance Excellence 
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ       
15.00 – 15.15 พักรับประทานอาหารว่าง
15.15 – 16.30 6. ความสําคัญของการพัฒนาบุคลากรในการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค?กร
บริษัท ไทยอคริลิคไฟเบอร์ จำกัด
16.30 – 17.15

7. ลดความสูญเปล่าด้วยแนวคิด TOYOTA WAY (TPS)
บริษัท ชัยวัฒนา แทนเนอรี่ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

13 กรกฎาคม 2550                        Conference Session

08.00 – 09.00 ลงทะเบียน
09.00 – 10.00 บรรยายพิเศษ เรื่อง “การบริหารเพื่อความเป็นเลิศ” โดย 
คุณขรรค์ ประจวบเหมาะ กรรมการผู้จัดการ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
10.00 – 10.15 พักรับประทานอาหารว่าง
10.15 – 11.00 8. การลดของเสียในการผลิต Fused Biconic Coupler
ศูนย์ระดับภูมิภาคทางวิศวกรรมระบบการผลิต คณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
11.00 – 11.45 9. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงของอุตสาหกรรมบริการ กรณีศึกษา ศูนย์บำบัดสุขภาพธารน้ำแร่จังหวัดระนอง
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
11.45 – 12.30 10. การจัดการของเสียอันตรายด้วยเตาเผาสำหรับหน่วยงานที่มีห้องปฏิบัติการฯ 
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
12.30 – 13.30 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.30 – 14.15 11. การอนุรักษ์พลังงานเพื่อช่วยลดภาวะโลกร้อนในโรงงานสำโรง
บริษัท โตโยต้ามอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด
14.15 – 15.00 12. การบูรณาการระบบการประเมินความเสี่ยงและประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม
บริษัท ชัยบูรณ์ บราเดอร์ส จำกัด
15.00 – 15.15

รับประทานอาหารว่าง

15.15 – 16.00

13. ป้องกันความเสี่ยงด้วยระบบการตรวจสอบภายในองค์กร
บริษัท ชัยบูรณ์ บราเดอร์ส จำกัด

16.00 – 16.45

Panel Discussion โดย 
คุณสมชาย นิราพาธพงศ์พร     
คุณปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ 
คุณพัฒนชัย กุลสิริสวัสดิ์                           
คุณสามารถ หงส์วิไล                         
คุณวีรพจน์ ลือประสิทธิสกุล            
คุณพงษ์ศักดิ์ เพียรพานิช

16.45 – 17.15 ประกาศผลและมอบรางวัล ศ.สุรศักดิ์ นานานุกูล ( Best of the Best) และรางวัล Popular Vote 
และพิธีปิดการสัมมนาโดย ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


Download เอกสารประกอบ

DOWNLOAD TQM Symposium 2007 (pdf file 134 KB new 27/6/2550)